Biofeedback Therapy

Dyssynergic defecation เป็นสาเหตุสำคัญอย่างหนึ่งของภาวะท้องผูกเรื้อรัง โดยพบได้ประมาณหนึ่งในสามของผู้ป่วยท้องผูกเรื้อรังทั้งหมด ความผิดปกตินี้เกิดจากการทำงานไม่ประสานกันของกล้ามเนื้อที่ควบคุมการเบ่งอุจจาระ ทั้งนี้อาจเกิดจากการเกร็งตัวของ external anal sphincter หรือ levator ani ในขณะเบ่งหรืออาจเกิดจากแรงเบ่งที่เกิดขึ้นในทวารหนักมีน้อยจึงไม่เพียงพอที่จะเอาชนะแรงต้านบริเวณหูรูดทวารหนัก จึงทำให้ไม่สามารถเบ่งอุจจาระออกมาได้ทั้งนี้พบว่าส่วนใหญ่เป็นผลจากความผิดปกติของพฤติกรรมการถ่ายที่เกิดขึ้นภายหลัง มีเพียงหนึ่งในสามที่เป็นผลจากการเรียนรู้ที่ไม่ถูกต้องในวัยเด็ก การรักษาด้วยวิธี biofeedback therapy หรือการฝึกเบ่งเป็นวิธีมาตรฐานและเป็นการรักษาเฉพาะสำหรับความผิดปกตินี้ โดยมีหลักการคือ…

Read more

GAT 2023 – โปรแกรมการประชุมวิชาการกลางปี 2566 (14-16 กรกฎาคม 2566)

โปรแกรมการประชุมวิชาการกลางปี สมาคมแพทย์ระบบทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 63 PRACTICAL POINTS IN CLINICAL GASTROENTEROLOGY วันที่ 14 – 16 กรกฎาคม 2566 ณ ห้องประชุมอโนมา 1 – 3…

Read more

GI Motility Days 2021

1 -2 ตุลาคม 2564 (Online Meeting) ขอบคุณทุกท่านสำหรับการร่วมงาน เตรียมพบกับงานประชุมวิชาการประจำปีครั้งถัดไปของสมาคมฯ

Read more

การให้ทุนพัฒนาการวิจัยของสมาคมประสาททางเดินอาหารและการเคลื่อนไหว (ไทย)

ประกาศสมาคมประสาททางเดินอาหารและการเคลื่อนไหว (ไทย) เรื่อง การให้ทุนพัฒนาการวิจัยของสมาคมประสาททางเดินอาหารและการเคลื่อนไหว (ไทย) สมาคมมีนโยบายจัดสรรทุนสนับสนุนการวิจัยให้สมาชิกในสมาคมประสาททางเดินอาหารและการ เคลื่อนไหว (ไทย) เพื่อส่งเสริมการวิจัยที่นำไปสู่การค้นพบความรู้ใหม่ และ/หรือเพื่อนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์ จึงกำหนดระเบียบการให้ทุนพัฒนาการวิจัยของดังนี้ แหล่งที่มาของทุนพัฒนาการวิจัยของสมาคมประสาททางเดินอาหารและการเคลื่อนไหว (ไทย) ทุนวิจัยของสมาคมประสาททางเดินอาหารและการเคลื่อนไหว (ไทย) ลักษณะของโครงการวิจัยที่จะขอรับทุน โครงการวิจัยที่จะขอรับทุนพัฒนาการวิจัย สมาคมประสาททางเดินอาหารและการเคลื่อนไหว (ไทย) ต้องเป็นโครงการที่ก่อให้เกิดผลงาน…

Read more